จริงหรือไม่ที่ว่าโซเชียลมีเดียกำลังทำให้เกิดโรคซึมเศร้าในวัยเด็ก?
- Get link
- X
- Other Apps
Is social media causing childhood depression?
By Jane Wakefield
Technology reporter
โซเชียลมีเดียทำให้เกิดโรคซึมเศร้าในวัยเด็กจริงหรือ
โดย เจน เวคฟิลด์ ผู้สื่อข่าวเทคโนโลยี
Rangan Chatterjee is a GP and says he has seen plenty of evidence of the link between mental ill-health in youngsters and their use of social media.
The government has also asked whether social media firms could provide pop-up messages alerting people who have been online for excessive periods and to give it specific examples.
In response to the meeting, Facebook's head of public policy in the UK, Karim Palant, told the BBC: "Our research shows that when we use social media to connect with people we care about, it can be good for our well-being."
โซเชียลมีเดียทำให้เกิดโรคซึมเศร้าในวัยเด็กจริงหรือ
โดย เจน เวคฟิลด์ ผู้สื่อข่าวเทคโนโลยี
Rangan Chatterjee is a GP and says he has seen plenty of evidence of the link between mental ill-health in youngsters and their use of social media.
One 16 year-old boy was referred to him after he self-harmed and ended up in A&E.
"The first thought was to put him on anti-depressants but I chatted to him and it sounded like his use of social media was having a negative impact on his health."
So Dr Chatterjee suggested a simple solution - the teenager should attempt to wean himself off social media, restricting himself to just an hour before he went to bed. Over the course of a few weeks, he should extend this to two hours at night and two in the morning.
"He reported a significant improvement in his wellbeing and, after six months, I had a letter from his mother saying he was happier at school and integrated into the local community."
That and similar cases have led him to question the role social media plays in the lives of young people.
"Social media is having a negative impact on mental health," he said. "I do think it is a big problem and that we need some rules. How do we educate society to use technology so it helps us rather than harms us?"
แรนกัน
แชตเตอร์จี แพทย์รักษาโรคทั่วไปกล่าวว่าเขาพบหลักฐานมากมายที่มีความเกี่ยวข้องกันระหว่างกลุ่มวัยรุ่นที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตและการใช้โซเชียลมีเดีย
อย่างกรณีผู้ป่วยวัยรุ่นชายอายุ
16 ปีรายหนึ่งที่ถูกส่งตัวมาให้เขารักษาหลังจากทำร้ายตัวเองจนถูกนำส่งโรงพยาบาล
“ตอนแรกคิดว่าสั่งจ่ายยาลดอาการซึมเศร้าให้ แต่เมื่อได้ซักถามผู้ป่วย ดูเหมือนว่าการใช้โซเชียลมีเดียเป็นเหตุให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพของเขาจนต้องทำร้ายตัวเอง”
“ตอนแรกคิดว่าสั่งจ่ายยาลดอาการซึมเศร้าให้ แต่เมื่อได้ซักถามผู้ป่วย ดูเหมือนว่าการใช้โซเชียลมีเดียเป็นเหตุให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพของเขาจนต้องทำร้ายตัวเอง”
ดร.แชตเตอร์จีจึงแนะนำวิธีแก้ปัญหาง่ายๆว่า
วัยรุ่นควรพยายามหักห้ามใจการใช้โซเชียลมีเดียโดยจำกัดการใช้งานเพียงหนึ่งชั่วโมงก่อนนอนและหลังจากนั้นสองสามสัปดาห์
ค่อยเพิ่มเวลาใช้งานเป็นสองชั่วโมงในตอนกลางคืนและสองชั่วโมงในตอนเช้า
“ต่อมาผู้ป่วยรายงานให้ทราบว่าสภาพความเป็นอยู่ของเขาดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดและหลังจากนั้นหกเดือน
ผมได้รับจดหมายจากแม่ของเขาว่าเขามีความสุขมากขึ้นที่โรงเรียนและเข้ากับเพื่อนบ้านได้”
จากกรณีดังกล่าวและกรณีอื่นๆที่คล้ายกันทำให้เขาตั้งคำถามถึงบทบาทโซเชียลมีเดียที่มีต่อชีวิตวัยรุ่น
“โซเชียลมีเดียกำลังมีผลกระทบด้านลบต่อสุขภาพจิต
เขากล่าวว่า “ผมคิดว่ามันเป็นปัญหาใหญ่และเราจำเป็นต้องมีกฎอะไรบางอย่างเพื่อชี้แนะสังคมให้ใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นประโยชน์ต่อเราไม่ใช่เพื่อมาทำร้ายเรา”
He is not alone. A group of US child welfare experts recently wrote to Facebook founder Mark Zuckerberg urging him to close down Messenger Kids - a messaging app developed for children - saying it was irresponsible to encourage pre-teens to use the platform.
It cited evidence of adolescents reporting severe mood changes because of social media use and girls as young as 10 facing body image issues because of the pictures they are bombarded with on platforms such as Facebook-owned Instagram.
ไม่ใช่เขาคนเดียวที่กังวลเกี่ยวกับเรื่องนี้
เมื่อไม่นานมานี้ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านสวัสดิภาพเด็กแห่งสหรัฐฯได้มีจดหมายไปถึง
มาร์ค ซัคเคอร์เบิร์ก ผู้ก่อตั้งเฟสบุค โดยร้องขอให้เขาปิดเมสเซนเจอร์ คิดส์ ซึ่งเป็นแอปส่งข้อความที่พัฒนาขึ้นสำหรับเด็ก
โดยกล่าวว่าแอพดังกล่าวไม่มีความรับผิดชอบต่อการจูงใจให้เด็กๆใช้บริการ
นอกจากนี้ยังอ้างหลักฐานในกรณีที่มีเยาชนรายงานว่าเขาเกิดอารมณ์แปรปรวนอย่างรุนแรงเนื่องจากใช้โซเชียลมีเดีย
และยังมีกลุ่มเด็กผู้หญิงอายุ 10 ขวบถูกโจมตีภาพลักษณ์หลังจากโพสท์รูปบนแพลทฟอร์ม
เช่น อินสตาร์แกรมซึ่งเป็นของเฟสบุค
A 2017 study by The Royal Society of Public Health asked 1,500 young people aged 11-25 to track their moods while using the five most popular social media sites.
It suggested Snapchat and Instagram were the most likely to inspire feelings of inadequacy and anxiety. YouTube had the most positive influence.
Seven in 10 said Instagram made them feel worse about body image and half of 14-24-year-olds reported Instagram and Facebook exacerbated feelings of anxiety. Two-thirds said Facebook made cyber-bullying worse.
The study led Shirley Cramer, chief executive of RSPH, to call for three specific changes:
- a pop-up notification when a young person has spent a certain amount of time online
- a watermark on photos that have been digitally manipulated
- school lessons on how to use social media in a healthy way
She concluded: "Social media has become a space in which we form and build relationships, shape self-identity, express ourselves and learn about the world around us; it is intrinsically linked to mental health."
จากการศึกษาของกลุ่ม
The Royal Society of
Public Health ในปี 2017 โดยการสอบถามวัยรุ่น 1,500 ราย ซึ่งมีอายุระหว่าง 11-25 ปีเพื่อติดตามสังเกตอารมณ์ของพวกเขาขณะใช้บริการโซเชียลมีเดียที่เป็นที่นิยมมากที่สุดห้าแห่ง
พบว่าสแนพแชทและอินสตาร์แกรมมีส่วนกระตุ้นให้ผู้ใช้เกิดความรู้สึกไม่พอใจและกังวลใจมากที่สุด
ส่วนยูทูปมีอิทธิพลต่อผู้ใช้ด้านบวกมากที่สุด
ผู้ใช้ 7 ใน 10 รายกล่าวว่า
อินสตาแกรมทำให้พวกเขารู้สึกว่าภาพลักษณ์ตัวเองแย่ที่สุดและครึ่งหนึ่งของผู้ใช้
อายุ 14-24 ปี รายงานว่า อินสตาร์แกรมและเฟสบุคทำให้เกิดความกังวลเพิ่มขึ้น
และสองในสามของผู้ใช้กล่าวว่า เฟสบุคทำให้เกิดการรังแกทางไซเบอร์ที่รุนแรงขึ้น
จากผลการศึกษาดังกล่าวทำให้
เชอร์ลี แครมเมอร์ ประธานบริหารRSPH เรียกร้องให้มีการดำเนินการสามประการ
1 ให้มีปอบอัพแจ้งเตือนเมือใช้งานครบเวลาที่เหมาะสมแล้ว
2 ควรมีลายน้ำบนรูปที่โพสท์ลงในสื่อ
3 ทางโรงเรียนต้องมีการสอนหรือแนะนำการใช้โซเชียลมีเดียอย่างถูกต้องและมีประโยชน์
เธอสรุปว่า
“โซเชียลมีเดียกลายเป็นพื้นที่ที่เราออกแบบและสร้างความสัมพันธ์ อัตลักษณ์ตัวเรา
อธิบายตัวเราและเรียนรู้เกี่ยวกับโลกที่อยู่รอบๆตัวเรา ซึ่งเชื่อมโยงกับสุขภาพจิตภายใน
Consultant psychiatrist Louise Theodosiou says one of the clearest indications children are spending too long on their phones is their behaviour during a session with a psychiatrist.
"Two or three years ago, it was very unusual for a child to answer their phone or text during an appointment. But now it is common," said the Royal Manchester Children's Hospital doctor.
She has seen a rise in cases where social media is a contributing factor in teenage depression, anxiety and other mental health issues. These problems are often complex and wide-ranging - from excessive use of gaming or social media sites to feelings of inadequacy brought on by a constant bombardment of social media images of other people's lives, to cyber-bullying.
หลุยส์
ธีโอโดซิโอ นักจิตวิทยาที่ปรึกษา กล่าวว่า
หนึ่งในตัวบ่งชี้ที่เห็นได้ชัดที่สุดว่าเด็กๆใช้เวลาอยู่กับโทรศัพท์มากเกินไปคือพฤติกรรมของเด็กขณะพบจิตแพทย์
“จะเห็นได้ว่าเมื่อสองหรือสามปีก่อน
แทบจะไม่ปรากฏว่าเด็กรับโทรศัพท์หรือพิมพ์ข้อความขณะมาพบแพทย์
แต่ในปัจจุบันเป็นเรื่องปกติมาก แพทย์โรงพยาบาล โรยัล แมนเชสเตอร์ ชิลเดรลว์ กล่าว
เธอพบว่าโซเชียลมีเดียเป็นปัจจัยร่วมทำให้เกิดโรคซึมเศร้า
วิตกกังวลและปัญหาสุขภาพจิตอื่นๆในวัยรุ่นเพิ่มขึ้น ปัญหาเหล่านี้มักซับซ้อนและมีขอบเขตกว้าง
ซึ่งเริ่มจากการหมกมุ่นอยู่กับเกมหรือโซเชียลมีเดียมากเกินไปจนทำให้เกิดความรู้สึกไม่พอใจซึ่งเกิดจากการถูกโจมตีทางจิตใจอย่างตอเนื่องจากภาพลักษณ์ของผู้อื่นที่ปรากฎบนโซเชียลมีเดีย จนนำไปสู่การรังแกทางไซเบอร์
"In the last fortnight I have had two children request extra appointments because of online bullying," Dr Theodosiou told the BBC.
"Some children deliberately lose or break their phones just to end distressing messages."
Teenagers who dare to express alternative views, particularly about "diverse sexuality", open themselves up to the risk of a torrent of abuse on platforms such as Twitter, she says. And online bullying can have a more intense effect than playground taunts.
"At school, any offline bullying would be limited to that environment but on the computer at home it begins to feel like you are being bullied in your own bedroom," said Dr Theodosiou.
One of the groups she worries about most - one she describes as "thankfully, rare" - is children who have simply stopped going out because of their online addiction to social media, gaming platforms, or both.
Often such children will refuse to travel to psychiatrist appointments, so a range of professionals have to make home visits to deal with the issue. It can take months to persuade them to leave their bedrooms.
"These kids are living in a fictional world, sometimes to the detriment of their physical health. They might have physical ill-health, like toothache, but they are still not wanting to leave their virtual worlds," she said.
เมื่อสองสัปดาห์ก่อน
ฉันมีผู้ป่วยเด็กสองรายขอนัดเข้ารับการรักษาพิเศษเนื่องจากโดนรังแกทางออนไลน์ ดร.ธีออโดซีโอกล่าวกับบีบีซี “เด็กบางคนตั้งใจทำโทรศัพท์หายหรือทำลายโทรศัพท์เพียงเพื่อจะได้ไม่ต้องรับรู้ข้อความที่ทำให้ทุกข์ใจ”
วัยรุ่นที่กล้าแสดงออกความคิดเห็นที่หมิ่นเหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับเรื่อง “ทางเพศแบบต่างๆ”
ทำให้พวกเขาเกิดความเสี่ยงต่อการละเมิดที่ร้ายแรงบนสื่อ เช่น ทวิตเตอร์ เธอกล่าว
การรังแกทางโลกออนไลน์มีผลรุนแรงกว่าการยั่วยุในสนามเด็กเล่น
“การรังแกกันทั่วไปที่เกิดขึ้นตามโรงเรียนจะจำกัดอยู่แต่เฉพาะในสภาพแวดล้อมนั้นๆแต่การใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้านจะรู้สึกเสมือนว่ากำลังถูกรังแกอยู่ในห้องนอนของผู้ใช้
ดร.ธีโอดอซีโอ กล่าว
หนึ่งในกลุ่มที่เธอกังวลมากที่สุดก็คือ
กลุ่มที่เธอเรียกว่า “thankfully,
rare” ได้แก่กลุ่มเด็กๆที่ไม่ยอมออกจากบ้านเลยเพียงเพราะติดเกมส์หรือโซเชียลมีเดีย
หรือทั้งสองอย่าง
เด็กกลุ่มดังกล่าวมักจะไม่ยอมมาพบจิตแพทย์
จนทีมผู้เชี่ยวชาญต้องไปทำการเกลี่ยกล่อม
ซึ่งอาจใช้เวลาหลายเดือนกว่าจะสามารถชักจูงให้เด็กกลุ่มดังกล่าวผละจากห้องนอนได้
“เด็กๆเหล่านี้กำลังจมปลักอยู่ในโลกจอมปลอม
แม้ว่าขนาดบางครั้งพวกเขาเกิดเจ็บป่วยขึ้นมา เช่น ปวดฟัน
พวกเขาก็ไม่ยอมออกจากโลกจำลองเพื่อมาพบแพทย์” เธอกล่าว
Dr Theodosiou has seen first-hand how difficult it can be for parents. She has heard of some sleeping with the home router to make sure the children cannot connect to the wi-fi in the middle of the night.
Even for those children whose social media use may be judged normal, there are still dangers in the way the internet has become a conduit into the lives of friends and celebrities.
"Youngsters have a need to compulsively watch others and are getting upset because they feel their lives aren't like that," said Dr Theodosiou.
"My sense is that they think that their friends have better lives than them, even though they are just seeing an idealised version of others' lives."
ดร.ธีโอดอซิโอได้พบเห็นมาด้วยตัวเองถึงความยากลำบากของพ่อแม่
ในบางรายพ่อแม่ต้องนอนเฝ้ารูทเตอร์เพื่อไม่ให้เด็กสามารถเชื่อมต่อไวไฟได้ในตอนเที่ยงคืน
แม้ว่าการใช้โซเชียลมีเดียของเด็กๆเหล่านั้นเป็นไปตามปกติ
ก็ยังคงถือว่าเป็นอันตรายที่อินเตอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่อไปยังเพื่อนๆและบุคคลที่มีชื่อเสียงได้
“วัยรุ่นมีความต้องการที่จะสอดส่องดูผู้อื่นซึ่งเป็นแรงผลักดันทางจิตใจและก็ทำให้เกิดกังวลใจเนื่องจากรู้สึกว่าชีวิตพวกเขาไม่เป็นแบบนั้น”
ดร. ธีโอดอซิโอ กล่าว
“ตามความรู้สึกของฉัน
พวกเขาคิดว่าเพื่อนๆมีชีวิตที่ดีกว่าพวกเขาแม้ว่าสิ่งที่เขาเห็นนั้นเป็นการเสกสรรปั้นแต่งขึ้น
What can parents do?
- Keep an eye on how much time children spend online and ensure it is not interfering with activities such as socialising, exercising, eating and sleeping
- Consider bans on devices at mealtimes and take them away an hour before bedtime. Do not let children charge devices in their rooms
- Talk regularly to children about what they do online, what posts they have made that day, who they are friends with and how it is affecting their mood
- With younger children, have access to passwords to regularly check content
- Remember, Facebook, Twitter or Instagram officially bar children under 13 from having accounts
- Encourage children to use the internet for creative things - helping with homework, making their own content
สิ่งที่พ่อแม่สามารถทำได้
1 คอยสอดส่องดูแลว่าเด็กใช้เวลาไปกับการออนไลน์นานเท่าไหร่และต้องไม่กระทบกับเวลาการทำกิจกรรม
เช่น การเข้าสังคม การออกกำลังกาย การกินและการนอน
2 ห้ามใช้อุปกรณ์เวลารับประทานอาหารและเก็บอุปกรณ์ให้พ้นมือเด็กก่อนนอนหนึ่งชั่วโมง
ห้ามเด็กชาร์จอุปกรณ์ในห้องของตัวเอง
3 พูดคุยกับเด็กอย่างสม่ำเสมอเกี่ยวกับสิ่งที่เด็กทำในโลกออนไลน์
เช่น เขาได้โพสท์อะไรบ้างในวันนั้น เขาเป็นเพื่อนกับใครบ้างและผลกระทบที่มีต่ออารมณ์ของเขาเป็นอย่างไรบ้าง
4 สำหรับเด็กอายุน้อย
ให้เก็บพาสเวิร์ดของเขาไว้เพื่อจะได้ตรวจเช็คข้อความอย่างสม่ำเสมอ
5 พึงระลึกว่า เฟสบุค ทวิตเตอร์หรืออินสตาร์แกรม
ได้ห้ามเด็กอายุต่ำกว่า 13 ปีสมัครบัญชีใช้บริการ
6 สนับสนุนให้เด็กใช้อินเตอร์เน็ตในทางสร้างสรรค์
เช่น ค้นคว้าข้อมูลมาทำการบ้าน เขียนเนื้อหา
The UK's Department of Health met in November with tech firms including Snap, Facebook, Google, Apple and Twitter to discuss the issues, which it sees as:
- online bullying and harmful content
- the amount of time youngsters spend online
- how to verify the age of users.
Again there is plenty of evidence to suggest there is reason to worry about all three of these topics.
- A study from Ofcom at the end of last year found half of UK children aged 11 and 12 had a profile despite most platforms having a minimum age of 13.
- Mental health charity Young Minds discovered that, while fewer youngsters reported online bullying (37%) than offline bullying (47%), the vast majority(83%) felt social media firms should do more to tackle the issue.
- A Glasgow University study found many teenagers are so invested in social media and so worried about missing out on posts, they log on in the middle of the night in order to get updates, leading to sleep deprivation.
กรมสุขภาพแห่งสหราชอาณาจักรได้จัดประชุมกับบริษัทเทคโนโลยีต่างๆในเดือนพฤศจิกายน
ซึ่งรวมทั้ง สแนป เฟสบุค กูเกิล
แอปเปิลและทวิตเตอร์เพื่อพูดคุยประเด็นที่มองว่าเข้าข่ายดังต่อไปนี้
1 การรังแกทางออนไลน์และเนื้อหาที่เป็นอันตราย
2 เวลาที่วัยรุ่นใช้ไปในโลกออนไลน์
3 การยืนยันอายุผู้ใช้
มีหลักฐานมากมายที่ชี้แนะว่ามีเหตุผลเพียงพอที่จะกังวลต่อสามหัวข้อเหล่านี้
จากการศึกษาของ
Ofcom เมื่อปลายปีที่แล้วพบว่าครึ่งหนึ่งของเด็กในสหราชอาณาจักรที่มีอายุ
11 และ 12 ปีมีบัญชีโปรไฟล์แม้ว่าผู้ให้บริการส่วนใหญ่ได้จำกัดอายุต่ำสุดของสมาชิกไว้ที่
13 ปี
องค์กรสุขภาพจิตการกุศล
ยัง ไมนด์สพบว่า ขณะที่วัยรุ่นรายงานการรังแกทางออนไลน์ (37%) น้อยกว่าการรังแกทางออฟไลน์ (47%) แต่เสียงส่วนใหญ่จำนวนมาก (83%) มีความรู้สึกว่าบริษัทโซเชียลมีเดียควรมีการรับมือกับประเด็นดังกล่าวเพิ่มขึ้น
ส่วนการศึกษาของมหาวิทยาลัยกลาสโกลว์พบว่าวัยรุ่นจำนวนมากได้รับอนุญาตให้ลงทุนในโซเชียลมีเดียและกังวลว่าจะพลาดข้อมูลที่โพสท์บนสื่อ
ทำให้ต้องเข้าใช้งานในตอนเที่ยงคืนเพื่ออัพเดทข้อมูลจนเป็นเหตุให้ต้องอดหลับอดนอน
It should also be pointed out some studies suggest children cope well with integrating social media into their lives.
- One, from the University of Oxford, suggested that while children do spend a lot of time online, they have some sophisticated ways of balancing online and offline time.
- The UK Safer Internet Centre found that 68% of young people said chatting to their friends online cheered them up, with 88% saying they had sent other friends "kind messages" when they were upset.
Despite the sometimes contradictory evidence, the firms have agreed to look at the three issues raised by the UK government, along with the possibility of parental controls, over the coming months.
The BBC understands they have been asked to provide evidence of what they believe makes unhealthy online behaviour among 13-18-year-olds, whether that be long periods of time spent online or using the platform at unsocial hours.
The government has also asked whether social media firms could provide pop-up messages alerting people who have been online for excessive periods and to give it specific examples.
นอกจากนี้ควรจะมองไปที่การศึกษาบางชิ้นที่มีมุมมองต่างออกไปด้วยว่าเด็กๆสามารถบูรณาการโซเชียลมีเดียเข้ากับการดำเนินชีวิตของพวกเขาได้ดี
1 เช่น การศึกษาชิ้นหนึ่งจากมหาวิทยาลัยออกฟอร์ดแนะนำว่าขณะที่เด็กๆใช้เวลาในโลกออนไลน์
พวกเขาจะมีวิธีการอันชาญฉลาดในการปรับสมดุลเวลาบนโลกออนไลน์และออฟไลน์ได้
2 ส่วนทางศูนย์อินเตอร์เน็ตเพื่อความปลอดแห่งสหราชอาณาจักรพบว่า
68 เปอร์เซ็นต์ของวัยรุ่นกล่าวว่าการพูดคุยกับเพื่อนๆในโลกออนไลน์ทำให้พวกเขาสบายใจ
และ 88 เปอร์เซ็นต์กล่าวว่าพวกเขาได้ส่ง “ข้อความปลอบใจ”
ต่อไปให้เพื่อนคนอื่นๆเมื่อเพื่อนรู้สึกไม่สบายใจ
แม้ว่าในบางครั้งหลักฐานที่ได้ไม่สอดคล้องกัน
แต่บริษัทที่เกี่ยวข้องก็เห็นด้วยที่จะทบทวนในสามประเด็นที่รัฐบาลสหราชอาณาจักรเสนอและอาจจะให้มีระบบควบคุมโดยผู้ปกครองในไม่กี่เดือนข้างหน้านี้
บีบีซีเข้าใจว่าพวกเขาถูกขอให้แสดงหลักฐานที่พวกเขาเชื่อว่าโซเชียลมีเดียทำให้เกิดพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพในหมู่วัยรุ่นอายุ
13-18 ปี
ไม่ว่าจะเป็นการใช้สื่อออนไลน์เป็นเวลานานหรือการใช้บริการนอกชั่วโมงปกติ
นอกจากนี้รัฐบาลยังร้องขอว่าบริษัทโซเชียลมีเดียสามารถให้มีข้อความแจ้งเตือนผู้ใช้งานเกินเวลาและขอให้แสดงตัวอย่างให้เห็นชัดเจนได้หรือไม่
In response to the meeting, Facebook's head of public policy in the UK, Karim Palant, told the BBC: "Our research shows that when we use social media to connect with people we care about, it can be good for our well-being."
Twitter said simply that it was "looking forward to positive discussions on these critical issues".
Google did not want to comment publicly.
And Snapchat said it was working on ways to improve how threatening messages are flagged by users.
Apple, which also attended the Department of Health meeting, recently faced calls from its investors to act on smartphone addiction, with software limiting how long children can use their devices.
In response, it said that there were already parental controls built into the operating system of its iPhones.
สำหรับคำตอบเกี่ยวกับการประชุม
คาริม พาแลนท์ หัวหน้านโยบายสาธารณะของเฟสบุคในสหราชอาณาจักรกล่าวกับบีบีซีว่า
“การวิจัยของเราแสดงให้เห็นว่าเมื่อเราใช้โซเชียลมีเดียเชื่อมต่อกับผู้คนเราใส่ใจเกี่ยวกับเรื่องสวัสดิภาพของเรา”
ทวิตเตอร์กล่าวแต่เพียงว่า
“อยากเห็นการพูดคุยในแง่บวกเกิดขึ้นในประเด็นการวิพากษ์วิจารณ์เหล่านี้”
ส่วนกูเกิลไม่ต้องการแสดงความคิดเห็นต่อสาธารณะ
ทางด้านสแนปแชทกล่าวว่าบริษัทฯกำลังดำเนินการหาวิธีปรับปรุงให้ผู้ใช้แจ้งเตือนข้อความที่คุกคาม
สำหรับทางแอปเปิลก็ได้เข้าร่วมการประชุมกับกรมสุขภาพในครั้งนี้ด้วย แม้ว่าเมื่อเร็วๆนี้ได้มีการร้องขอจากผู้ลงทุนให้ดำเนินการเรื่องการหมกมุ่นการใช้งานสมาร์ทโฟนด้วยซอฟแวร์ที่จำกัดเวลาใช้งานของเด็กๆ
แอปเปิลกล่าวว่ามีระบบควบคุมโดยผู้ปกครองอยู่ในระบบปฏิบัติการไอโฟนแล้ว
หมายเหตุ เนื้อหาภาษาอังกฤษข้างต้น นำมาจาก http://www.bbc.com/news/technology-42705881
การแปลเรื่องอื่นๆในหมวดเทคโนโลยี
เฟสบุคถูกสั่งให้หยุดติดตามผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในเบลเยี่ยม
สุดทึ่ง ! มีการนำหุ่นยนต์มาผลิตเบอร์เกอร์แทนพ่อครัว
หมายเหตุ เนื้อหาภาษาอังกฤษข้างต้น นำมาจาก http://www.bbc.com/news/technology-42705881
การแปลเรื่องอื่นๆในหมวดเทคโนโลยี
เฟสบุคถูกสั่งให้หยุดติดตามผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในเบลเยี่ยม
สุดทึ่ง ! มีการนำหุ่นยนต์มาผลิตเบอร์เกอร์แทนพ่อครัว
บทสนทนาถัดไป
บทสนทนาก่อนหน้า
- Get link
- X
- Other Apps
Comments
Post a Comment